Browsing Tag

การเงินเพื่อความยั่งยืน

ACTIVITIES

Rethink Sustainability: A Call to Action for Thailand

9 กุมภาพันธ์ 2567… ความสำคัญในการสร้างการเปลี่ยนแปลงให้ประเทศไทยเพื่อเปลี่ยนไปสู่สังคมแห่งความยั่งยืน เพราะ KBank Private Banking ผู้เชี่ยวชาญการลงทุน มองว่าแนวคิดการลงทุนอย่างยั่งยืนเป็นเรื่องที่ทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐและเอกชนต้องร่วมกันสร้างให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในประเทศไทยด้วยการลงมือทำ

Continue Reading

SD DAILY

SD Daily : คาดสถานการณ์การเงินเพื่อความยั่งยืน ปี 2567 ยังคงเติบโต

8 กุมภาพันธ์ 2567…ท่ามกลางแรงหนุนจากเกณฑ์ทั่วโลกที่เพิ่มขึ้น การเติบโตในอัตราค่อนข้างสูงถึงประมาณ 10%YoY โดยมีแรงหนุนจากการเพิ่มเติมกฎกติกาทั่วโลกรวมถึงไทย เช่น กฎหมาย Green Taxonomy ต่างๆ

Continue Reading

NEXT GEN

ภาคธุรกิจต้องปรับตัว ลดกิจกรรมที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในอนาคต เพราะการเงินเพื่อความยั่งยืนทั่วโลก มีการเติบโตอย่างก้าวกระโดด

26 กรกฎาคม 2565… ตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืนในปี 2021 มีมูลค่า 929,700 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งเติบโต 10 เท่าในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ในขณะมูลค่าสินเชื่อเพื่อความยั่งยืนในปี 2021 มีมูลค่า 716,561 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือเติบโต 7 เท่าจากปี 2018 ขณะที่ประเทศไทย ณ ไตรมาส 2 ปี 2022 มีมูลค่าตราสารหนี้คงค้างด้านความยั่งยืน จำนวน 330,049 ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เป็น Sustainability Bond ของรัฐบาล ลำดับถัดมาคือ Green Bond เพื่อใช้ในโครงการด้านพลังงาน

Continue Reading

ALTERNATIVE

SCB ธนาคารไทยแห่งแรก สมาชิก Equator Principles ยกระดับการเงินคำนึงสิ่งแวดล้อมและสังคม

31 มกราคม 2565… ไทยพาณิชย์มุ่งสู่ ‘การยกระดับการเงินที่ยั่งยืน’ พร้อมนำหลักการ EP มาใช้ในการพัฒนาระบบการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมสำหรับสินเชื่อโครงการ (Project Finance) เพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) และข้อตกลงปารีสว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ รวมถึงส่งเสริมการเปลี่ยนผ่านของทุกภาคส่วนสู่อนาคตที่ยั่งยืน

Continue Reading

NEXT GEN

เผย 5 แนวทางการพัฒนาภาคการเงินเพื่อความยั่งยืน

19 สิงหาคม 2564…ประเทศไทยตระหนักถึงความสำคัญของการเติบโตของเศรษฐกิจที่ยั่งยืน รวมถึงความเป็นอยู่ที่ดีของภาคธุรกิจและประชาชน โดยที่ผ่านมาได้ให้การรับรองเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ขององค์การสหประชาชาติในปี 2558 เพื่อร่วมกันพัฒนาโลกให้มีความสมดุลและยั่งยืน และให้สัตยาบันต่อความตกลงปารีส (Paris Agreement) ในปีต่อมา ซึ่งให้คำมั่นว่าจะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ 20-25 จากกรณีฐาน (Business-as-usual) ภายในปี 2573

Continue Reading