18 ธันวาคม 2567…ความร่วมมือครั้งสำคัญระหว่าง “ท็อปเจริญ” และ “มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์” เพื่อแก้ไขวิกฤตขาดแคลนแพทย์ทัศนมาตรศาสตร์แก้ไขปัญหาขาดแคลนบุคลากรด้านสายตาในประเทศไทย
ACTIVITIES
26-27 ก.ย.นี้ อว.ชวนร่วมงานสัมมนาวิชาการแห่งปี “เสริมพลังนิสิตนักศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
14 กันยายน 2567…ขอเชิญชวนผู้บริหาร บุคลากรทางการศึกษา นิสิตนักศึกษาและผู้สนใจเข้าร่วมงานสัมมนาวิชาการด้านพัฒนานักศึกษา ประจำปี 2567 ภายใต้หัวข้อ “เสริมพลังนิสิตนักศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: บูรณาการ SDGs สู่อุดมศึกษา” (Empowering Minds for a Sustainable Future: Integrating SDGs in Higher Education) จัดโดยกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ระหว่างวันที่ 26-27 กันยายน 2567 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมเซ็นทารา ไลฟ์ ศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ
1 มิถุนายน 2567…ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ยังเดินหน้าต่อเนื่องส่งเสริม financial literacy เยาวชนไทย ผ่านโครงการ “INVESTORY Investment Learning Design Bootcamp” ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 สนับสนุนให้ครูระดับมัธยมศึกษาออกแบบโมเดลการเรียนรู้การเงินการลงทุน เพื่อถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียนในรูปแบบ active learning หวังต่อยอดเป็นหลักสูตรการลงทุนสำหรับนักเรียนมัธยมให้แก่ระบบการศึกษาของประเทศ โดยที่ผ่านมาสร้างครูกระบวนกรแล้วใน 66 สถาบันการศึกษาทั่วประเทศ
19 สิงหาคม 2566… วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) ฉายแนวโน้มการทำธุรกิจเปลี่ยนแปลงตามพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปทุกวัน ทำให้ประเด็นด้าน “ความยั่งยืน (Sustainability)” กลายเป็นสิ่งสำคัญที่ทุกองค์กรไม่ควรมองข้าม ขณะที่นักลงทุนทั่วโลกต่างก็ให้ความสำคัญกับประเด็นดังกล่าวมากขึ้น พร้อมแนะแนวทางทำธุรกิจแบบ ESG (Environment, Social, Governance) มากขึ้น เพื่อซื้อใจนักลงทุน โดย CMMU พร้อมผลักดันเรื่อง “ความยั่งยืน (Sustainability)” และ “การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development)” ในทุกมิติ ส่งคอร์สพัฒนาบุคลากรในทุกองค์กร เน้นย้ำต้องมี 3 ทักษะสำคัญ ได้แก่ มายด์เซ็ต (Mindset) สกิลเซ็ต (Skillset) และทูลเซ็ต (Toolset) เพื่อร่วมกันพาองค์กรไปสู่ความยั่งยืนทั้ง 17 เป้าหมาย SDGs
20 ตุลาคม 2565…KBTG ยกระดับการศึกษาด้านเทคโนโลยีของไทย จับมือมหาวิทยาลัยชั้นนำ ด้วยแพลตฟอร์ม EdTech และ Tech Community เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและบุคลากรทางด้านไอทีในการเรียนรู้ และส่งเสริมงานวิจัยทางด้านเทคโนโลยี เพื่อให้สามารถนำไปต่อยอดเป็นนวัตกรรมใหม่ๆ ให้กับวงการธุรกิจไทย และสร้างบุคลากรไอทีสู่อุตสาหกรรมเทคโนโลยีไทยและในระดับโลก นำร่องที่แรกกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
CSR
ครั้งแรกของไทย!! มาตรฐานการศึกษาด้านดิจิทัล “หลักสูตรอุ่นใจไซเบอร์” ภารกิจสร้างภูมิคุ้มกันภัยไซเบอร์ให้คนไทย กับการทำงานของ AIS ร่วมกับ 3 กระทรวง 1 มหาวิทยาลัย
21 กันยายน 2565… SDGs ของ UN เป้าหมายข้อที่ 17 ว่าด้วยเรื่อง ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สะท้อนให้เห็นได้อย่างชัดเจนจากการทำงานของ AIS ที่จับมือภาครัฐ 4 หน่วยงานหลัก ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข, กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวงมหาดไทย และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ลงนามความร่วมมือ พร้อมเปิดตัว “อุ่นใจไซเบอร์” เป็น “หลักสูตรการเรียนรู้” เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันภัยไซเบอร์ครั้งแรกของไทย ที่เป็นการผนึกกำลังร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน ยกระดับการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล เพื่อปกป้องภัยไซเบอร์
NEXT GEN