28 พฤษภาคม 2567…“อาเซียนควรพัฒนาและผลักดันการกำหนดมาตรฐานคาร์บอนเครดิตร่วมกัน เป็นมาตรฐานระดับภูมิภาคที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล”
14 กันยายน 2566…ประเทศไทยเป็นประเทศลำดับต้นๆ ในภูมิภาคเอเชียที่ได้จัดข้อมูลค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามแนวคิด Carbon Border Adjustment Mechanism (CBAM) เพื่อเตรียมความพร้อมทางการค้ากับสหภาพยุโรป ซึ่งกลุ่มอลูมิเนียมเป็นกลุ่มแรกที่สามารถทำข้อมูลออกมาได้ทันช่วงเปลี่ยนผ่านของมาตรการ CBAM ผลจากการประเมินจะช่วยให้อุตสาหกรรมอลูมิเนียมมีค่า CBAM กลางของประเทศเพื่อใช้ต่อยอดในการเจรจาทางการค้า และพัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขัน
NEXT GEN
ศิริกัญญา ส่ง Cap and Trade กำหนดเพดานปล่อยคาร์บอน+เทรด & เร่ง Green Finance ให้ภาคธุรกิจที่อยากปรับตัว
22 พฤษภาคม 2566…ก่อนการเลือกตั้ง 14 พ.ค. SD Perspectives ตั้งคำถามประเด็น ESG ถ้าเป็นรัฐบาลจะมีนโยบายอย่างไร? เพราะสิ่งแวดล้อมเราอยู่กับ PM2.5 เรื่องไฟป่า ความเหลือมล้ำทางสังคม ขณะที่ SMEs ที่ต้องส่งออก หรืออยู่ในซัพพลายเชนบริษัทใหญ่ที่มีตลาดต่างประเทศ ต้องพบกฎเกณฑ์ที่นำ ESG มาใช้เป็นข้อกีดกันทางการค้า เช่นเรื่องคาร์บอนผ่าน CBAM บางตัวอย่างเช่นนี้ได้รับคำตอบจากสัมมนา ที่สนับสนุนโดย ธนาคารกรุงไทย
24 มีนาคม 2566…อุตสาหกรรมสิ่งทอกำลังเผชิญกับเสียงเรียกร้องทางสังคมในฐานะอุตสาหกรรมที่ส่งผลกระทบต่อภาวะโลกร้อนโดยตรง มีส่วนก่อให้เกิดการปล่อยคาร์บอนจำนวนมหาศาล เพราะปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์จากอุตสาหกรรมสิ่งทอคิดเป็น 10% ของคาร์บอนไดออกไซด์ทั้งโลก มากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์จากการผลิตเนื้อวัวถึง 50% แต่ละปีอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสร้างมลพิษมากเป็นอันดับ 2 รองจากอุตสาหกรรมน้ำมันและทำให้เกิดขยะมากกว่า 10 ล้านตัน/ปี อีกทั้งยังต้องใช้พลังงานอย่างมากเพื่อการกำจัด
NEXT GEN